Show Posts

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Messages - Lali

Pages: [1]
1

1. ให้บริการมามากกว่า 20 ปี
2. ผ่านหลักสูตรจาก DBD
3. ให้บริการด้านบัญชี และ ภาษีครบวงจร
4. บริการและใส่ใจลูกค้า

สนใจทำบัญชี กับ นรินทร์ทอง คลิกที่นี่เลย


ขั้นตอนการทำบัญชี รับทำบัญชี กับ Narinthong มีขั้นตอนดังนี้

1. รับเอกสาร ตรวจสอบเอกสาร ติดตามเอกสารที่ได้รับให้ครบถ้วนพร้อม สำหรับการทำบัญชี

2. ให้คำปรึกษาก่อนเริ่มบันทึกบัญชี แนะนำแนวทางการบันทึกบัญชี เพื่อประหยัดภาษี ให้ถูกต้องตามกฎหมาย
 
3. เริ่มทำบันทึกบัญชี  รายเดือน รายปี จัดทำรายละเอียดเพื่อให้รู้ผลประกอบการ โครงสร้างของธุรกิจ เพื่อดำเนินธุรกิจในระยะยาว พร้อมทั้งทำข้อมูลประกอบการปิดงบการเงิน

4. ตรวจสอบความถูกต้อง  ของเอกสารทางบัญชี รายการที่บันทึกบัญชี และแนะนำการลงค่าใช้จ่ายเพื่อประหยัดภาษี

5. ส่งงบให้ผู้สอบบัญชี ให้ผู้สอบให้ความเห็นต่องบการเงินที่เกิดขึ้น เพื่อให้ได้มาตราฐาน และ มีความน่าเชื่อถือ ผ่านผู้สอบบัญชีมืออาชีพ *ราคาในดำเนินการสอบบัญชีไม่รวมในค่าทำบัญชี*

6. นำส่งงบการเงิน ช่วยผู้ประกอบการส่งงบการเงินแก่สรรพากร ให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาในด้านบัญชี และ ภาษี พร้อมทั้งให้คำปรึกษาในกรณีที่เกิดปัญหา

อ่านรายละเอียด ขั้นตอนการทำบัญชี เพิ่มเติม ได้ที่นี่


ขอบเขตการ รับทำบัญชี ที่เราให้บริการ

บริการทำบัญชีครบวงจร ครอบคลุมทุกด้าน

  • ทางสำนักงานบัญชีให้คำปรึกษาแนะนำ การออกเอกสารที่เกี่ยวข้องกับบัญชีอย่างเป็นระบบ เช่น การออกแบบ ใบแจ้งหนี้ ใบกำกับ ใบเสร็จ รับ เงิน ใบสำคัญรับ-จ่าย เพื่อให้ได้มาตรฐาน

  • รับเอกสารจากทางลูกค้า โดยลูกค้าสามารถทำจัดการจัดส่งผ่านไปรษณีย์ หรือส่งทางขนส่งมาตรฐานให้กับทางสำนักงานบัญชีนรินทร์ทอง หากประสงค์ส่งในรูปแบบออนไลน์สามารถแสกนผ่านข้อมูลผ่านทาง Google Drive หรือ โปรแกรมบัญชีที่รองรับ *ในกรณีที่ต้องการส่งเอกสารมายัง สำนักงานสามารถใช้บริการเรียกรถผ่านแอพพลิเคชั่น ตามค่าใช้จ่ายจะถูกคิดตามระยะทางจริง*

  • โดยทางสำนักงานจะตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร ก่อนการเริ่มทำการบันทึกบัญชี

  • เรามีบริการทำบัญชีครบวงจรที่ครอบคลุมทุกด้าน ของการจัดการบัญชีสำหรับธุรกิจของคุณ

  • จัดทำภาษีเงินเดือน ภงด 1 และ ภาษีหัก ณ ที่ จ่าย ภงด.3 ภงด.53

  • จัดทำแบบประกันสังคม และ ยื่นแบบทางอินเตอร์เน็ต

  • จัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม และ ยื่น ภพ 30 กับสรรพากร

  • จัดทำรายงานภาษีซื้อ-ภาษีขาย ประจำเดือน

  • ทำการปิดบัญชี ส่งงบการเงินประจำปี


จัดทำรายละเอียด ประกอบงบการเงิน

  • รายละเอียดทรัพย์สิน

  • รายละเอียดเจ้าหนี้ ลูกหนี้

  • รายงานสินค้าคงเหลือ (ในกรณีที่ลูกค้าต้องการรายงานสินค้าคงเหลือ จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)


ยื่นเอกสารกรมพัฒนาธุรกิจการค้า(DBD)

  • ยื่นงบการเงิน และ สบช.3

  • ยื่นบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น บอจ.5


ยื่นเอกสารกรมสรรพากร

  • ประมาณการและยื่น ภ.ง.ด.51 (ภาษีกลางปี)

  • จัดทำและยื่น ภ.ง.ด.50 (ภาษีเงินได้นิติบุคคล)



ราคาค่าบริการ รับทำบัญชี และค่าบริการที่เกี่ยวกับบัญชีเพิ่มเติม

เอกสารทางบัญชี 1-50 ชุด
 3,500 บาท / เดือน

  • ทำบัญชีรายเดือนตามมาตราฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

  • จัดทำเอกสารประกอบการลงบัญชี เช่น สมุดรายวัน แยกประเภทตามมาตราฐานที่กฎหมายกำหนด

  • จัดทำงบการเงินประจำปี พร้อมนำส่งกรมสรรพากร และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


เอกสารทางบัญชีชุดที่ 51-100 ชุด
4,500 บาท / เดือน

  • ทำบัญชีรายเดือนตามมาตราฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

  • จัดทำเอกสารประกอบการลงบัญชี เช่น สมุดรายวัน แยกประเภทตามมาตราฐานที่กฎหมายกำหนด

  • จัดทำงบการเงินประจำปี พร้อมนำส่งกรมสรรพากร และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


เอกสารทางบัญชีชุดที่ 151-200 ชุด
5,500 บาท / เดือน

  • ทำบัญชีรายเดือนตามมาตราฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

  • จัดทำเอกสารประกอบการลงบัญชี เช่น สมุดรายวัน แยกประเภทตามมาตราฐานที่กฎหมายกำหนด

  • จัดทำงบการเงินประจำปี พร้อมนำส่งกรมสรรพากร และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


เอกสารทางบัญชีชุดที่ 201-250 ชุด
6,500 บาท / เดือน

  • ทำบัญชีรายเดือนตามมาตราฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

  • จัดทำเอกสารประกอบการลงบัญชี เช่น สมุดรายวัน แยกประเภทตามมาตราฐานที่กฎหมายกำหนด

  • จัดทำงบการเงินประจำปี พร้อมนำส่งกรมสรรพากร และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


หมายเหตุ : ไม่รวมค่าจัดส่งเอกสาร EMS , ค่าใช้ในการเดินทางรับเอกสาร , ค่าธรรมเนียม และ ภาษี

มองหาสำนักงานบัญชีมากประสบการณ์ แนะนำ นรินทร์ทอง คลิกเพื่ออ่านบทความเต็มได้ที่นี่


2



หากธุรกิจของคุณเริ่มมีรายได้และผลกำไรสูง ควรมีการจดทะเบียนบริษัทเกิดขึ้น แต่ผู้ประกอบการหลายท่านอาจจะยังไม่แน่ใจว่า ต้องมีรายได้เท่าไหร่ ถึงควร จดทะเบียนบริษัท ? วันนี้ นรินทร์ทอง ได้นำข้อมูลเกี่ยวกับการจดทะเบียนบริษัทมาฝากทุกคนในบทความนี้! 
อยากรู้รายละเอียดการ จดทะเบียนบริษัท เพิ่มเติม คลิกที่นี่

เมื่อไรควร จดทะเบียนบริษัท


หากกิจการของคุณเริ่มมีเงินได้สุทธิ (รายได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย) มากกว่า 750,000 บาทขึ้นไป ควรจดทะเบียนบริษัททันที


รายได้ และ อัตราภาษี


การจดทะเบียนบริษัทควรเริ่มทำเมื่อเจ้าของธุรกิจมีเงินได้สุทธิ (รายได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย) 750,000 บาทขึ้นไป ถ้าคุณเป็นบุคคลธรรมดาที่มีรายได้สุทธิมากเท่านี้ จะเสียภาษีถึง 35% แต่ถ้าจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท จะเสียภาษีเงินได้เพียง 20% 

เรียนรู้การคำนวณรายได้ และอัตราภาษีเพิ่มเติม คลิกที่นี่


ตัวอย่างการคำนวณรายได้ และ อัตราภาษี แบบนิติบุคคล กับ แบบบุคคลธรรมดา


การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล

วิธีการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล มีสูตรการคำนวณ คือ (รายได้ – ค่าใช้จ่าย) = กำไรสุทธิ จากนั้นนำกำไรสุทธิที่ได้ มาคิดภาษีตามอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล (ทั้งนี้ถ้าหากมีได้กำไร 0 - 300,000 จะได้รับการยกเว้นภาษี 15%)

ยกตัวอย่าง: หากรายได้ทั้งปีมีจำนวน 2,225,000 บาท จะมีวิธีการคำนวณภาษี ดังนี้
Step 1: รายได้ขายสินค้า 2,225,000 - รายจ่าย 1,900,000 บาท = กำไรทางบัญชี 325,000 บาท

Step 2: กำไรทางบัญชี 325,000 บาท - รายการปรับปรุงทางภาษี 0 บาท = กำไรทางภาษี 325,000 บาท

Step 3: กำไรทางบัญชี 325,000 บาท - 3 ล้าน = ภาษีที่ต้องชำระ 3,750 บาท

การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา จะมีวิธีการคำนวณโดยแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ

แบบที่ 1 (รายได้ - ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน) x อัตราภาษี = ภาษีที่ต้องจ่าย หากมีรายได้ประจำช่องทางเดียว อัตราภาษีจะเป็นแบบอัตราขั้นบันได ตั้งแต่ 5 – 35%

แบบที่ 2  (รายได้ทุกประเภท - เงินเดือน) x 0.5% ในกรณีที่มีรายได้ช่องทางอื่น นอกจากรายได้ประจำหรือเงินเดือนตั้งแต่ 120,000 บาทขึ้นไป คิดภาษีแบบเหมา
โดยจะต้องคำนวณภาษีทั้งแบบอัตราขั้นบันได และอัตราเหมา เพื่อนำมาเทียบกันแล้วเลือกยอดภาษีที่ต้องเสีย โดยคิดจากยอดภาษีที่สูงกว่า

หมายเหตุ: หากคำนวณด้วยวิธีคิดแบบเหมาแล้ว มีภาษีที่ต้องเสียทั้งสิ้นไม่เกิน 5,000 บาท จะได้รับการยกเว้นภาษีในวิธีนี้

ยกตัวอย่าง: หากรายได้ทั้งปีมีจำนวน 2,225,000 บาท เลือกหักค่าใช้จ่ายแบบขั้นบันได จะมีวิธีการคำนวณภาษี ดังนี้

Step 1: รายได้ขายสินค้า 2,225,000 - รายจ่าย 1,900,000 บาท - ค่าลดหย่อนภาษี = เงินได้สุทธิ

Step 2: เงินได้สุทธิ x อัตราภาษีขั้นบันได 30% (รายได้ 2M - 5M ขั้นบันได 30%) = ภาษีที่ต้องจ่าย


ค่าใช้จ่าย และความรับผิดชอบที่มากขึ้น หลัง จดทะเบียนบริษัท



  • การเทียบค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในการทำบัญชี

หากต้องการเทียบค่าใช้จ่ายในการทำบัญชี ต้องดูว่าในนามบุคคลธรรมดาคุณเสียภาษีสูงสุดเท่าไหร่ในช่วง 5%-35% จากนั้นนำมาเทียบกับค่าใช้จ่ายในการทำบัญชี

  • การเก็บเอกสาร

1. ใบแจ้งหนี้ / ใบกำกับภาษี / ใบเสร็จรับเงิน / หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย (ที่กิจการให้ลูกค้า)
2. ใบแจ้งหนี้ / ใบกำกับภาษี / ใบเสร็จรับเงิน / หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย (ที่ได้รับจากคู่ค้า)
3. Bank Statement หรือสมุดบัญชีธนาคาร
4. รายงานสรุปการจ่ายเงินเดือนพนักงาน (กรณีมีพนักงาน)
5. การใช้บริการจ่ายค่าเช่าจากบริษัท / บุคคลอื่น
6. เอกสารสัญญาทุกชนิด
7. รายงานสินค้าคงเหลือ


ถ้าคุณอยากรู้รายละเอียด หลังจดทะเบียนบริษัท เพิ่มเติมคลิกเลย



ข้อดีของการ จดทะเบียนบริษัท รู้ก่อนไม่มีพลาด!

  • จ่ายภาษีน้อยกว่าบุคคลธรรมดา
  • ปีไหนธุรกิจขาดทุนก็ไม่ต้องเสียภาษี
  • มีความน่าเชื่อถือกว่า
  • ขยายธุรกิจได้ง่ายกว่า

หลังจากที่จดทะเบียนบริษัทเป็นนิติบุคคลแล้ว เจ้าของธุรกิจอย่าลืมที่จะให้ความสำคัญกับการทำบัญชีและภาษี โดยพิจารณาเลือกสำนักงานบัญชีที่มีประสบการณ์ เราขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : [email protected]
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339

3



การจะเปิดโรงพยาบาลสัตว์ขึ้นมาสักแห่ง เจ้าของกิจการจำเป็นต้องพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อโรงพยาบาลสัตว์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของต้นทุน รายได้ รวมถึงค่าใช้จ่ายส่วนอื่นๆ สิ่งเหล่านี้ล้วนต้องมีการวางแผนจัด ทำบัญชีโรงพยาบาลสัตว์ ขึ้นมา วันนี้ทางเรา นรินทร์ทอง บริษัท รับทำบัญชี จึงไม่พลาดที่จะนำเสนอเรื่องที่ต้องรู้เกี่ยวกับ หลักการทำบัญชีของโรงพยาบาลสัตว์ ให้กับทุกท่านที่สนใจอยากทำกิจการเกี่ยวกับสัตว์ ได้มีการวางแผนทำบัญชีอย่างถูกต้อง

อยากรู้รายละเอียดการ ทำบัญชีโรงพยาบาลสัตว์ เพิ่มเติม คลิกที่นี่เลย!


หลักของ ทำบัญชีโรงพยาบาลสัตว์


ก่อนที่จะเปิดบริษัทแนะนำว่า ควรทำการวางแผนทั้งในเรื่องของการ ทำบัญชีโรงพยาบาลสัตว์ และเรียนรู้เรื่องภาษีก่อน เพื่อเป็นตัวช่วยสร้างความมั่นคงให้กับธุรกิจของคุณ โดยหลักทางบัญชีโรงพยาบาลสัตว์ สิ่งที่จะต้องรู้มีดังนี้

บัญชีต้นทุนของโรงพยาบาลรักษาสัตว์


  • ต้นทุนค่าแรง - คือรายจ่ายของคลินิกที่จ่ายให้กับเจ้าหน้าที่ เป็นค่าตอบแทนในการปฏิบัติงาน รวมถึงค่าสวัสดิการต่างๆ ที่ต้องจ่ายให้ในรูปของตัวเงิน
  • ต้นทุนค่าวัสดุ - คือค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลืองทุกประเภทที่ใช้ในการดำเนินงาน ได้แก่ ค่ายา, ค่าเวชภัณฑ์, เครื่องมือแพทย์, เครื่องมือวัดชีพจร ฯลฯ รวมถึงค่าบำรุงรักษาเครื่องมือแพทย์
  • ต้นทุนการลงทุน - เป็นต้นทุนที่เกิดจากการก่อสร้างอาคาร และการตกแต่งภายใน โดยบันทึกบัญชีเป็นสินทรัพย์ (Asset) คิดค่าเสื่อมราคาแบบเส้นตรง

การบันทึกข้อมูลรายรับ - รายจ่ายบัญชี ของโรงพยาบาลสัตว์


สามารถแบ่งได้เป็น 2 กรณีคือ กรณีรายรับที่เกิดจากการให้บริการรักษาสัตว์เลี้ยง และอีกกรณีเป็นรายรับจากการขายอาหารสัตว์ และขายสินค้าให้กับสัตว์เลี้ยง นอกจากนี้ยังมีค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ผู้ประกอบการจะต้องนำมาบันทึก เพื่อเป็นรายรับและรายจ่ายในการทำบัญชี
 
หากคลินิกหรือโรงพยาบาลรักษาสัตว์ ที่เสียภาษีเงินได้แบบบุคคลธรรมดา จะสามารถหักค่าใช้จ่ายได้ตามจริงเท่านั้น จึงต้องเก็บเอกสาร ใบเสร็จต่างๆ ไว้ให้ครบถ้วน และควรลงบันทึกรายรับ-รายจ่ายทุกครั้ง เพื่อให้เป็นหลักฐานตอนยื่นภาษี

ทรัพย์สินโรงพยาบาลสัตว์

โดยส่วนมากจะเป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆ ได้แก่ เครื่องเอกซเรย์, เครื่องผ่าตัด, เครื่องอัลตราซาวนด์, เครื่องมือวัดชีพจร เครื่องชั่งน้ำหนัก รวมถึงเฟอร์นิเจอร์ เช่น เครื่องใช้สำนักงานต่างๆ

โครงสร้างรายได้ของโรงพยาบาลสัตว์

โครงสร้างรายได้ของโรงพยาบาลสัตว์ จึงสามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วน ได้แก่

  • รายได้หลัก - มาจากการให้บริการรักษาสัตว์เลี้ยงภายในโรงพยาบาล

  • รายรับเสริม - มาจากการจำหน่ายสินค้าเกี่ยวกับสัตว์ และการให้บริการต่างๆ เช่น การขายอาหารสัตว์ การขายอุปกรณ์ดูแลรักษาสัตว์เลี้ยง หรือการให้บริการอาบน้ำและตัดขนสัตว์ เป็นต้น

โครงสร้างค่าใช้จ่ายโรงพยาบาลสัตว์

1. รค่าใช้จ่ายในการตกแต่งอาคาร  - การตกแต่งหรือซ่อมแซมต่างๆ ภายในอาคาร โดยรายจ่ายเหล่านี้จะต้องนำมาบันทึกค่าใช้จ่าย ฝั่งของบริษัทและต้องคิดค่าเสื่อมราคา
2.  ค่าใช้จ่ายค่าเสื่อมราคาในการดำเนินธุรกิจ  - ของทั้งทางคุณหมอ Full Time / คุณหมอ Outsource / คุณหมอ Part – time / ผู้ช่วยพยาบาล / แอดมิน / แม่บ้าน /พนักงานอาบน้ำ-ตัดขน เป็นต้น ซึ่งค่าใช้จ่ายทั้งหมดนี้ จะต้องจัดระบบให้เรียบร้อย
3.  ค่าใช้จ่ายส่วนอื่นๆ  - เช่น ค่าน้ำ, ค่าไฟ, ค่าเช่า, ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา, ค่าที่ปรึกษา, ค่าใช้จ่ายทางด้านการตลาด, รวมถึงค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่างๆ

อ่านรายละเอียด โครงสร้างค่าใช้จ่ายโรงพยาบาลสัตว์ เพิ่มเติม

การจดเข้าภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับสินค้าที่มี Vat และ Non Vat



รายการค่าใช้จ่ายในธุรกิจโรงพยาบาลสัตว์ที่มี Vat

  • ค่าบริการทางการแพทย์
  • ค่าอุปกรณ์ทางการแพทย์
  • สินค้าต่างๆ ของสัตว์เลี้ยง เช่น ทรายแมว, กระบะทรายแมว, เสื้อผ้าน้องหมาและน้องแมว รวมถึงของใช้ต่างๆ เป็นต้น

รายการค่าใช้จ่ายในธุรกิจโรงพยาบาลสัตว์ที่ Non Vat

  • ค่ายารักษาสัตว์
  • อาหารสัตว์

สิ่งสำคัญคือทุกครั้งที่มีการออกใบเสร็จรับเงิน หรือออกใบกำกับภาษีให้ลูกค้า จะต้องมีการบันทึกข้อมูลอย่างละเอียด เพราะข้อมูลทุกอย่างจะต้องนำรายงานส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม และแบบภาษี ภพ.30 ทุกเดือน

ทำความเข้าใจ โครงสร้างค่าใช้จ่ายโรงพยาบาลสัตว์ เพิ่มเติม

หาที่ปรึกษาด้านการ ทำบัญชีโรงพยาบาลสัตว์ แนะนำที่ นรินทร์ทอง

โดยสรุปแล้วจะเห็นว่า การเปิดโรงพยาบาลสัตว์หรือคลินิกรักษาสัตว์ขึ้นมาสักแห่งหนึ่ง เจ้าของธุรกิจจะต้องใส่ใจรายละเอียดในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะการ ทำบัญชีโรงพยาบาลสัตว์ ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นข้อมูลทางด้านธุรกรรมที่มีหลายขั้นตอน และมีความละเอียดอ่อน หากเกิดข้อผิดพลาดขึ้นมาอาจส่งผลเสียต่อตัวธุรกิจได้โดยตรง ดังนั้นถ้าคุณอยากได้ที่ปรึกษาด้าน การทำบัญชี ส่วนตัว ขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโตและมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : [email protected]
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339



4

การทำบัญชีไม่ใช่แค่การทำเอกสารส่งสรรพากรเท่านั้น เพราะจริงๆ แล้วก็การทำบัญชี เป็นตัวช่วยในการบริหารงานที่สำคัญไม่แพ้กับ การพัฒนาสินค้าบริการ และการทำการตลาด ดังนั้นสำหรับเจ้าของธุรกิจที่ยังไม่เริ่มทำบัญชี ห้ามพลาดกับ ประโยชน์ของการทำบัญชี กับเรานรินทร์ทอง

เรียนรู้ประโยชน์ของการทำบัญชี กับเราเพิ่มเติมได้ที่นี่


ประโยชน์ของการทำบัญชี


ช่วยให้เห็นภาพผลการดำเนินการของกิจการ
กิจการของเรามีรายรับ รายจ่าย ได้กำไร หรือ ขาดทุน มีรายได้จากสินค้าและบริการอะไรเป็นหลัก


เป็นเครื่องมือที่สามารถนำมาใช้และตัดสินใจในธุรกิจ
  • ช่วยให้คุณสามารถติดตาม และจัดการกระแสเงินสดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • ทำให้เราเห็นต้นทุนของสินค้าและบริการนั้นๆ ได้ชัดเจน
  • ช่วยให้คุณสามารถวางแผนทางการเงินได้อย่างแม่นยำ

ทำความเข้าใจการทำบัญชี ประโยชน์ที่ช่วยต่อยอดธุรกิจ เพิ่มเติมคลิกที่นี่



การทำบัญชีเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบกิจการ
เนื่องจากการทำบัญชี หรือ การบันทึกบัญชี จะทำให้เราสามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้


การหาแหล่งเงินทุน
สามารถนำรายงานบัญชีไปเป็นข้อมูลสำหรับการขอสินเชื่อ ธนาคาร สถาบัญทางการเงินต่างๆ เพื่อพิจารณาการให้สินเชื่อ

อยากสร้างธุรกิจให้เติบโตอย่างมั่นคง เรียนรู้การจ้างสำนักงานบัญชีคลิกที่นี่


สรุป ประโยชน์ของการทำบัญชี ที่มีดีมากกว่าที่คุณคิด

การทำบัญชีไม่ใช่แค่การเก็บข้อมูลทางการเงินเท่านั้น แต่ยังเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการบริหารจัดการธุรกิจให้มีประสิทธิภาพ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงานรับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโตและมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : [email protected]
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339

5

การทำบัญชีเป็นส่วนสำคัญของการดำเนินธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ ถ้าหากใครที่ทำบัญชีด้วยตัวเอง แล้วเริ่มซับซ้อนไม่ตอบโจทย์ ไม่รู้ว่าจะเริ่ม จ้างทำบัญชี ตอนไหน แล้วจะจ้างเป็นพนักงาน หรือจ้างสำนักงานบัญชี ไปเลย บทความนี้จะช่วยคุณตัดสินใจ กับเรานรินทร์ทอง

อ่านรายละเอียดการจ้างทำบัญชีเพิ่มเติม อ่านบทความเต็มๆ ที่นี่

เมื่อไรควร จ้างทำบัญชี?


  • ธุรกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว: การจ้างทำบัญชีจะช่วยให้คุณมีเวลามากขึ้น ในการเน้นไปที่การขยายธุรกิจ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการ
  • ความซับซ้อนของการทำบัญชีเพิ่มขึ้น: เมื่อธุรกิจขยายและมีการทำธุรกรรมทางการเงินที่ซับซ้อน เช่น การจัดการภาษี การจ่ายเงินเดือน และการจัดทำรายงานทางการเงิน รวมถึงธุรกิจบางประเภทที่ต้องรู้เรื่องภาษีเฉพาะทาง
  • ขาดความรู้และทักษะทางบัญชี: การจ้างมืออาชีพมาช่วยดูแลการเงิน จะช่วยให้คุณมั่นใจในความถูกต้อง และช่วยคุณประหยัดเวลา

ปัจจัยในด้านขนาดธุรกิจแบบไหนควร จ้างทำบัญชี

สำหรับธุรกิจขนาดเล็ก
รายได้ยังไม่เกิน 1.8 ล้านต่อปี ธุรกิจมีรูปแบบที่ไม่ซับซ้อน มีจำนวนบิลไม่มากเนื่องจากธุรกิจพึ่งมีการดำเนินการ อยู่ในรูปแบบบุคคลธรรมดา แบบนี้แอดมินแนะนำให้ ศึกษาการทำบัญชี และ ยื่นภาษีได้เอง ยังไม่ได้มีความจำเป็นที่จะต้องจ้างสำนักงานบัญชี

สำหรับธุรกิจขนาดกลาง
มีการจดทะเบียนนิติบุคคล หจก หรือ บจก และมีรายได้มากกว่า 1.8 ล้าน/ต่อปี ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เริ่มมีรายได้สูง และ เริ่มมีพนักงานหลายคน มีจำบิลซื้อ และ ขายเป็นจำนวนมาก

เรียนรู้ปัจจัยการจ้างทำบัญชี สำหรับธุรกิจแต่ละขนาด เพิ่มเติมคลิกที่นี่


เลือกทำบัญชีเอง จ้างพนักงาน หรือ จ้างสำนักงานบัญชี แบบไหนดีกว่ากัน

ทำบัญชีเอง:

ข้อดี
  • ประหยัดค่าใช้จ่าย
  • สามารถควบคุณได้ง่าย
  • ได้ความรู้
ข้อเสีย
  • มีโอกาสเกิดข้อผิดพลาดสูง

*ซึ่งเจ้าของธุรกิจจำเป็นจะต้องจ้างผู้ทำบัญชี  และ ผู้สอบบัญชี ไม่สามารถปิดงบการเงินได้ด้วยตัวเองจำเป็นจะต้องจ้างซึ่งจะมีค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ *

จ้างพนักงานทำบัญชี:

ข้อดี
  • ความต่อเนื่องและความเชื่อถือ
  • การให้คำปรึกษาทางการเงิน
ข้อเสีย
  • มีค่าใช้จ่าย

จ้างสำนักงานบัญชี:

ข้อดี
  • มืออาชีพและความเชี่ยวชาญ
  • ช่วยประหยัดเวลา
  • ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างถูกต้อง
ข้อเสีย
  • ความยืดหยุ่นจะน้อยกว่าแบบอื่นๆ


เลือกแนวทางการทำบัญชีที่เหมาะกับธุรกิจของคุณ อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่!


สรุป
การจ้างทำบัญชีเราจะจ้างได้ เมื่อกิจการมีความพร้อม พร้อมทั้งในส่วนของรายได้ และ เหมาะกับสถานการณ์ในช่วงนั้นๆ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี ทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโตและมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : [email protected]
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339

6




หลังเปิดบริษัทแล้วต้องทําอะไรบ้าง ? ซึ่งทาง นรินทร์ทอง ในฐานะที่เราเป็นผู้ให้คำปรึกษาด้านการจัดทำบัญชี และจดทะเบียนบริษัท จึงอยากมาให้ข้อมูลเกี่ยวกับ สิ่งที่ต้องทำหลังการจดทะเบียนบริษัท เพื่อให้เจ้าของธุรกิจได้ทราบถึงขั้นตอนต่างๆ ที่ต้องทำหลังจากนั้น

ข้อควรรู้ หลังเปิดบริษัทแล้วต้องทําอะไรบ้าง อ่านบทความเต็มๆ ได้ที่นี่


หลัง เปิดบริษัทแล้วต้องทําอะไรบ้าง ?



1. จัดประชุมผู้ถือหุ้น
สำหรับบริษัทจำกัด นับจากวันที่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล จะต้องมีการประชุมสามัญครั้งแรก ภายใน 6 เดือนนับจากวันที่จดทะเบียนบริษัท ส่วนการจัดประชุมในครั้งต่อๆ ไป จะต้องจัดประชุมอย่างน้อยหนึ่งครั้งทุกๆ 12 เดือน

2. จัดทำใบหุ้นและสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น
  • ใบหุ้น คือ เอกสารที่ต้องระบุข้อมูลต่างๆ ของการเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท
  • สมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น คือ สมุดแสดงรายการข้อมูลหุ้นตั้งแต่จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ที่มีข้อมูลตั้งแต่ขั้นตอนการจัดตั้ง, มีรายการเพิ่มทุน-ลดทุน, การโอนหุ้น รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงผู้ถือหุ้น

3. จัดทำบัญชีตามที่กฏหมายกำหนด
  • บัญชีรายวัน ได้แก่ บัญชีเงินสด, บัญชีธนาคาร, บัญชีรายวันซื้อ, บัญชีรายวันขาย และบัญชีรายวันทั่วไป
  • บัญชีแยกประเภท ได้แก่ หนี้สิน, ทุน, รายได้ และค่าใช้จ่ายลูกหนี้ เจ้าหนี้
  • บัญชีสินค้า และ สต็อกสินค้า
  • บัญชีอื่นๆ ตามรูปแบบของบริษัท

4. จัดหาผู้ทำบัญชีของบริษัท
ทางบริษัทจะต้องมีการจัดทำบัญชี ที่แสดงข้อมูลผลประกอบการที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง และตรงตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

5. จัดส่งเอกสารให้ผู้ทำบัญชีเพื่อปิดบัญชี
ในส่วนนี้เป็นหน้าที่ของผู้ประกอบการ ที่จะต้องมอบเอกสารทั้งหมดให้ผู้ทำบัญชี เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการลงบัญชีในทุกๆ เดือน

6. จัดทำงบการเงิน
บริษัทจะต้องปิดงบการเงินในทุกๆ รอบ 12 เดือน หรือ 1 ปี เพื่อให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและลงลายมือชื่อ จากนั้นนำเสนอในที่ประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นอนุมัติงบการเงินภายใน 4 เดือน หลังสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี

7. จัดเก็บเอกสารบัญชีและภาษี
ทางบริษัทจำเป็นต้องเก็บเอกสารที่ใช้ ประกอบการลงบัญชีทั้งหมดไว้ที่บริษัทไม่น้อยกว่า 5 ปี ส่วนการเก็บรักษาเอกสารภาษี ตามประมวลรัษฎากร กำหนดให้ผู้ประกอบการเก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี แต่ไม่เกิน 7 ปี

อ่านรายละเอียดสิ่งที่ต้องทำหลังเปิดบริษัท เพิ่มเติมคลิก


หากไม่ทำเกิดอะไรขึ้น


  • มาตรา 8 บริษัทจำกัดไม่ทำใบหุ้น หรือเรียกค่าธรรมเนียมเกิน
    มีค่าปรับ 10,000 บาท
  • มาตรา 10 บริษัทจำกัดไม่มีสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น
    มีค่าปรับ 20,000 บาท
  • มาตรา 11 บริษัทจำกัดไม่รักษาสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น หรือไม่เปิดสมุดทะเบียนเมื่อผู้ถือหุ้นร้องขอ
    มีค่าปรับ 20,000 บาท
  • มาตรา 25 บริษัทจำกัดใดกระทำความผิดตามมาตรา 7-24
    มีค่าปรับ 50,000 บาท

ทำความเข้าใจที่มาของค่าปรับต่างๆ เพิ่มเติม คลิกอ่านบทความที่นี่


สรุป หลังการเปิดบริษัทต้องทำอย่างไรบ้าง กับ นรินทร์ทอง


เมื่อรู้อย่างนี้แล้วก็อย่าละเลยที่จะจัดเตรียมเอกสาร และงานบัญชีที่ต้องทำให้เรียบร้อยตามที่กฎหมายกำหนด เพื่อที่บริษัทจะได้มีงบการเงินที่มีคุณภาพ ไม่ต้องโดนค่าปรับ และสำหรับผู้ประกอบการท่านใด ที่ไม่มีความรู้เรื่องการจัดทำบัญชี หรือไม่รู้ว่าจะต้องเริ่มจากตรงไหนก่อน แนะนำว่าให้ปรึกษากับสำนักงานบัญชีที่มีความเชี่ยวชาญโดยตรง อย่าง บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงานรับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโตและมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : ][email protected]
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339

7


หากใครที่กำลังจะเปิดกิจการ แล้วกำลังมองหาชื่อกิจการก่อนจดทะเบียนนิติบุคคล ในบทความนี้ นรินทร์ทอง อยากมาแชร์เทคนิคการ ตั้ง ชื่อ บริษัท ให้จำง่าย และส่งผลดีต่อธุรกิจของคุณในระยะยาว ซึ่งจะมีเทคนิคการตั้งชื่ออย่างไรบ้างบทความนี้มีคำตอบ!

อยากรู้ เทคนิคตั้งชื่อบริษัทก่อนจดทะเบียนนิติบุคคล” เพิ่มเติมคลิกอ่านได้ที่นี่!


เทคนิคการ ตั้ง ชื่อ บริษัท อย่างไร ไม่ให้มีปัญหาภายหลัง

1. การตั้ง "ชื่อบริษัท" เป็นเรื่องสำคัญ
เนื่องจากคนทั่วไปจะรู้จักชื่อบริษัท ผ่านสินค้าหรือการให้บริการเป็นส่วนใหญ่ เพราะคุณจำเป็นต้องใช้ชื่อบริษัทในการทำการตลาด ซึ่งแน่นอนว่าส่งผลต่อภาพลักษณ์ และจุดยืนด้านการตลาด

2. ไม่ใช้คำยากในการตั้งชื่อบริษัท
ชื่อบริษัทที่ดีจะต้องตั้งให้จำง่าย ไม่ใช้คำยาก เป็นเอกลักษณ์ สามารถสื่อความหมาย และตัวตนของธุรกิจได้ดี

3. ไม่จำเป็นต้องใช้อักษรย่อเสมอไป
หากเป็นธุรกิจ SME ช่วงเริ่มต้น แนะนำว่าควรใช้ชื่อเต็มๆ จะเหมาะสมต่อการดำเนินธุรกิจมากกว่า เพราะหากใช้ชื่อที่เป็นอักษรย่อ อาจจะซ้ำกับบริษัทอื่นได้ง่าย

4. หลีกเลี่ยงการใช้ชื่อตัวเอง
ถ้าวันหนึ่งคุณไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ตามที่มอบหมายได้ อาจส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์ของบริษัทได้ง่าย

5. ตั้งชื่อเผื่อขยายกิจการในอนาคต
ควรตั้งชื่อบริษัทที่ง่ายต่อการขยายกิจการ หลีกเลี่ยงการตั้งชื่อแบบเจาะจง และไม่ควรใช้ชื่อสถานที่ในการตั้งชื่อบริษัท

6. หลีกเลี่ยงการใช้ชื่อที่เกี่ยวข้องกับราชวงศ์ หรือ หน่วยงานราชการ
การจองชื่อนิติบุคคลนิติบุคคล การจองชื่อเพื่อจดทะเบียนบริษัท การทำธุรกิจรูปแบบนิติบุคคลนั้น จะต้องไม่มีคำหรือข้อความที่เกี่ยวข้องกับ

  • พระนามของพระเจ้าแผ่นดิน พระมเหสี รัชทายาท หรือพระบรมวงศานุวงศ์ ในพระราชวงศ์ปัจจุบัน เว้นแต่จะได้รับพระบรมราชานุญาต
  • ชื่อกระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการ ราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานหรือองค์การของรัฐ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีเจ้ากระทรวงที่เกี่ยวข้อง
  • ชื่อประเทศ เว้นแต่จะได้ระบุไว้ในวงเล็บต่อท้ายชื่อ และอยู่หน้าคำว่า "จำกัด"
  • ชื่อที่อาจก่อให้เกิดสำคัญผิดว่า รัฐบาล กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการ ราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงาน หรือองค์การของรัฐทั้งของประเทศไทยหรือต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศเป็นเจ้าของหรือผู้ดำเนินการ
  • ชื่อที่ขัดต่อแนวนโยบายแห่งรัฐ หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

7. ไม่ใช้ชื่อใกล้เคียงกับบริษัทที่มีชื่อเสียง
หลีกเลี่ยงการตั้งชื่อบริษัทใกล้เคียงกับบริษัทที่มีชื่อเสียง เพราะอาจสร้างปัญหาระหว่างเจ้าของธุรกิจได้

อ่านเทคนิคการตั้งชื่อบริษัทแบบละเอียด คลิกที่นี่


แนะนำวิธีการเช็กชื่อบริษัทว่า ซ้ำหรือไม่


เช็กให้แน่ใจว่าชื่อบริษัทที่ตั้งนั้น ไม่ได้ซ้ำกับบริษัทอื่น หรือแบรนด์ไหนที่เคยทำธุรกิจมาก่อน! เพราะการใช้ชื่อธุรกิจซ้ำกันอาจทำให้เกิดปัญหาตามมามากมาย และยากต่อการแก้ไขในอนาคต เช่น
  • เกิดการละเมิดเครื่องหมายการค้า
  • ความสับสนของผู้บริโภค
  • ความเสียหายต่อชื่อเสียง
  • การกระทำที่หลอกลวง
  • ส่งผลให้เกิดความผิดทางกฎหมาย
ดังนั้นทาง นรินทร์ทอง ขอแนะนำว่า ก่อน ตั้ง ชื่อ บริษัท ควรทำการตรวจสอบทุกครั้ง หรือสามารถจองชื่อนิติบุคคลได้ที่เว็บไซต์ www.dbd.go.th

ไม่อยากมีปัญหาภายหลัง ต้องรู้เทคนิคการตั้งชื่อบริษัท คลิกอ่านบทความที่นี่


สรุปเทคนิคการตั้งชื่อบริษัท ที่คนอยากจดทะเบียนนิติบุคคล ต้องรู้ กับ นรินทร์ทอง

การตั้งชื่อบริษัทเป็นหนึ่งในขั้นตอนที่สำคัญมาก เพราะชื่อบริษัทเปรียบเสมือนภาพลักษณ์ของธุรกิจ และสำหรับเจ้าของธุรกิจทุกท่าน ที่ทำธุรกิจในรูปแบบนิติบุคคล หรือเป็นนักธุรกิจมือใหม่ที่อยาก จดทะเบียน บริษัท แนะนำว่าควรขอคำปรึกษาจากผู้ที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านนี้โดยเฉพาะ อย่าง บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงานรับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโตและมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : ][email protected]
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339


8

สำหรับใครที่ต้องการใช้ หนังสือรับรองบริษัท แต่ไม่รู้วิธีการขอ และไม่รู้ว่าต้องใช้ค่าใช้จ่ายเท่าไหร่? วันนี้แอดมิน Narinthong จะมาแนะนำวิธีการขอหนังสือรับรองบริษัท ออนไลน์ ผ่านระบบ e-Filing ที่ทั้งง่าย และใช้เวลาไม่นาน จะมีขั้นตอนการขอยังไงบ้าง ตามมาดูกันเลย!

ขอหนังสือรับรองบริษัทออนไลน์ ผ่านระบบ e-Filing ไม่ยากอย่างที่คิด อ่านเพิ่มเติมที่นี่!

ขั้นตอนการ ขอหนังสือรับรองบริษัท ออนไลน์ผ่านระบบ e-Filing

  • ขั้นตอนที่ 1 ลงทะเบียนและเข้าสู่ระบบ: ลงทะเบียนในระบบ e-Filing ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า

  • ขั้นตอนที่ 2 ให้เราเลือกบริการขอหนังสือรับรองบริษัท: เมื่อเข้าสู่ระบบ ให้เลือกเมนู "บริการออนไลน์" จากนั้นให้เลือกบริการ "ขอหนังสือรับรองบริษัท"

  • ขั้นตอนที่ 3 เลือกเอกสารที่ต้องการขอ: เลือก “หนังสือรับรอง” ในขั้นตอนนี้สำหรับใครที่ต้องการเอกสารอื่นๆ ก็สามารถเพิ่มเอกสารในการขอได้

  • ขั้นตอนที่ 4 เลือกบริษัทที่ต้องการ: นำเลขทะเบียนนิติบุคคลของบริษัทที่ต้องการ แล้วกด Search เลือกบริษัทที่ต้องการ หากใครที่ต้องการหนังสือรับรองหลายๆ บริษัท ก็สามารถคลิกปุ่ม “คลิกเพื่อเพิ่มนิติบุคคล”

  • ขั้นตอนที่ 5 สรุปค่าธรรมเนียม: ระบบจะคำนวณค่าธรรมเนียมที่ต้องชำระ และจำนวนเอกสาร จากนั้นให้ตรวจสอบรายการเอกสาร และจำนวนเอกสารที่ขอว่าครบถ้วนไหม

  • ขั้นตอนที่ 6 เลือกผู้ชำระเงิน: ระบบจะให้เรากรอกชื่อผู้ชำระเงิน ในส่วนนี้เราสามารถเลือกในนามนิติบุคคล หรือ สามารถเลือกในนามบุคคล ได้ตามวัตถุประสงค์

  • ขั้นตอนที่ 7 ตรวจสอบชื่อผู้ชำระเงิน: ตรวจสอบข้อมูลให้เรียบร้อย

  • ขั้นตอนที่ 8 เลือกช่องทางการจัดส่ง: เลือกช่องทางจัดส่งที่ต้องการ สำหรับใครที่ต้องการเป็นไฟล์ให้เลือก “ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์”

  • ขั้นตอนที่ 9 ชำระค่าธรรมเนียม: ระบบจะให้เลือกชำระค่าธรรมเนียมผ่านช่องทางธนาคารต่างๆ

  • ขั้นตอนที่ 10 พิมพ์ Pay-in Slip: ของธนาคารที่เราต้องการและทำการชำระเงินค่าบริการ

  • ขั้นตอนที่ 11 รอการตรวจสอบและรับหนังสือรับรอง: ระบบจะดำเนินการตรวจสอบข้อมูล หากข้อมูลถูกต้อง หลังจากนั้นคุณจะได้รับ หนังสือรับรองบริษัท เป็น PDF File ผ่านระบบ e-Filing ภายใน 1-2 วันทำการ

  • ขั้นตอนที่ 12 ดาวน์โหลดเอกสาร: ไปที่ ดาวน์โหลดไฟล์/ใบเสร็จ>กรอกเลขคำขอ และทำการดาวน์โหลด และกดโหลดเอกสารที่ต้องการ
เรียนรู้ขั้นตอนการขอ หนังสือรับรองบริษัท คลิกอ่านบทความเต็มที่นี่


ขอหนังสือรับรองบริษัท มีอัตราค่าบริการ อย่างไร
ในการขอหนังสือรับรองบริษัทผ่านระบบ e-Filing จะมีค่าธนนมเนียมอยู่ที่ 200 บาท ขึ้นอยู่บจำนวนเอกสาร

เรียนรู้การขอ หนังสือรับรองบริษัท เพิ่มเติมคลิกอ่านที่นี่


สรุป
การขอหนังสือรับรองบริษัทผ่านระบบ e-Filing เหมาะสำหรับเจ้าของธุรกิจอย่างมาก และถ้าต้องการคำปรึกษา บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด ยินดีให้บริการ! เพราะเราคือ สำนักงาน รับทำบัญชี ทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโตและมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น


  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : [email protected]
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339

9


หนังสือรับรองบริษัท เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่จะช่วยยืนยัน การจัดตั้งบริษัทอย่างถูกต้อง และสร้างความน่าเชื่อถือให้กับคู่ค้า และหน่วยงานต่างๆ ซึ่งวันนี้แอดมินจะพามารู้จักกับ การทำ หนังสือรับรองบริษัท คือ อะไร ความสำคัญมากแค่ไหน ? เจ้าของธุรกิจต้องห้ามพลาด!

หนังสือรับรองบริษัท คืออะไร เรียนรู้เพิ่มเติมได้ในบทความนี้

หนังสือรับรองบริษัท คือ อะไร?


หนังสือรับรองบริษัท คือเอกสารที่ ใช้ยืนยันข้อมูลของบริษัท ซึ่งจะถูกออกโดย กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (DBD) เอกสารดังกล่าวจะประกอบไปด้วย

  • ชื่อบริษัท
  • ที่อยู่
  • ทุนจดทะเบียน
  • ผู้ถือหุ้น และผู้มีอำนาจลงนามในบริษัท
  • วัตถุประสงค์บริษัท

หนังสือรับรองบริษัทสำคัญอย่างไร?


การขอหนังสือรับรองบริษัท สามารถทำได้โดยการยื่นคำร้องต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า หรือผ่านระบบออนไลน์ของกรมพัฒน์ อีกทั้งยังสามารถคัดหนังสือรับรอง ผ่านธนาคารที่ให้บริการ และรอรับได้ไม่เกิน 30 นาที

หนังสือรับรองบริษัทมีการอายุการใช้งานนานไหม


อันที่จริงแล้วการทำหนังสือรับรองบริษัท ไม่มีการกำหนดอายุการใช้งาน แต่แนะนำว่าควรใช้ประมาณ 6 ถึง 12 เดือน เพราะหนังสือรับรองบริษัทที่จะเป็นหนังสือที่มีความสมบูรณ์ และเป็นปัจจุบันมากที่สุด ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับกิจกรรมที่เราไปดำเนินการ บางที่อาจจะขอ หนังสือรับรองบริษัท ที่คัดมาไม่เกิน 3 เดือน

อยากรู้รายละเอียดการทำ หนังสือรับรองบริษัท เพิ่มเติม อ่านบทความเต็มได้ที่นี่


สรุป

การมีหนังสือรับรองบริษัท ไม่เพียงแต่ช่วยสร้างความน่าเชื่อถือให้กับธุรกิจของคุณเท่านั้น แต่ยังเป็นเอกสารที่จำเป็นสำหรับการดำเนินธุรกิจในหลายๆ ด้าน เพราะฉะนั้นถ้า หากคุณกำลังวางแผนทำธุรกิจ และต้องผู้ช่วยทางด้านการทำบัญชีและภาษี ขอแนะนำให้รู้จักกับ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี ทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโตและมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี

  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้

  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท

  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : [email protected]
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339

10


การ ปิด งบ การเงิน คือ อะไร? เชื่อว่าเป็นคำถามที่เจ้าของกิจการมือใหม่หลายๆ ท่าน มักจะเกิดข้อสงสัย ซึ่งก่อนอื่นต้องขอบอกก่อนว่า การปิดงบการเงิน มีความสำคัญต่อธุรกิจทุกรูปแบบ รวมถึงธุรกิจที่เพิ่งจัดตั้งปีแรก (ยังไม่มีรายได้) ก็จำเป็นต้องปิดงบการเงิน ซึ่งในบทความนี้ ทาง นรินทร์ทอง ก็ได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ "การปิดงบการเงิน" มาให้ทุกท่านได้ทำความเข้าใจกันแบบละเอียด เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการจดปิดงบการเงินในธุรกิจ

ทำความเข้าใจความหมายของคำว่า “ปิดงบการเงิน” เพิ่มเติมคลิก!

การ ปิด งบ การเงิน คือ อะไร
การปิดงบการเงิน หมายถึง การจัดการงบการเงินเมื่อถึงกำหนดสิ้นรอบบัญชี ที่จำเป็นต้องดำเนินการปิดงบการเงิน และนำส่งกรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสรรพากรตามที่กฎหมายกำหนด โดยผู้ที่มีหน้าที่ปิดงบการเงินคือ กิจการที่จดทะเบียนนิติบุคคล ซึ่งนิติบุคคลอย่างบริษัทจำกัด หรือ ห้างหุ้นส่วนจำกัด จะต้องปิดงบการเงินตามที่กฎหมายกำหนดปีละ 1 ครั้ง ที่สำคัญต้องจัดหาผู้ทำบัญชีและผู้ตรวจสอบบัญชี เพื่อจัดส่งงบการเงินตามกำหนด ถ้าหากไม่มีการส่งงบการเงินจะมีโทษปรับตามกฎหมาย

มีประโยชน์อย่างไร


ประโยชน์ของการปิดงบการเงิน ไม่ใช่เพื่อทำจัดส่งงบการเงินให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเท่านั้น แต่ยังสามารถทำประโยชน์ให้กิจการได้ในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็น

1. รู้ผลกำไร-ขาดทุน ที่แท้จริง
2. บริหารสภาพคล่องทางการเงิน
3. รายงานที่ง่ายต่อการวิเคราะห์
4. กำหนดการจ่ายเงินปันผลได้

เรียนรู้ประโยชน์ของการ ปิดงบการเงิน เพิ่มเติมคลิก!!

ขั้นตอนการ ปิด งบ การเงิน คือ มีอะไรบ้าง


การปิดงบการเงิน เป็นข้อมูลการจัดทำบัญชีแสดงรายรับ-รายจ่าย ของกิจการตลอดทั้งปี โดยจะใช้บันทึกข้อมูลบัญชีภาษีต่างๆ เป็นรายเดือน แยกรายละเอียดรายรับ-รายจ่ายอย่างชัดเจน รวมไปถึงการจัดเก็บเอกสารการจัดซื้อ และใบเสร็จต่างๆ แยกไว้เป็นหมวดหมู่ เพื่อให้ง่ายต่อการปิดงบการเงินในแต่ละรอบบัญชี โดยมีขั้นตอนการปิดงบการเงินดังนี้

1. จัดเก็บรายละเอียดเอกสารรายการค้า
2. ทำบัญชีแยกประเภท
3. ทำงบทดลอง
4. ปรับปรุงบัญชีค้างรับ ค้างจ่าย และค่าเสื่อมราคา
5. ปิดบัญชีสินค้าคงเหลือเข้าบัญชีต้นทุนสินค้าขาย
6. ปิดบัญชีรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนสินค้าขาย เข้างบกำไร-ขาดทุน
7. งบแสดงฐานะการเงิน


งบ การเงิน ต้องปิดในช่วงไหน

  • ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจำกัด

สำหรับห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล หรือห้างหุ้นส่วนจำกัด ต้องยื่นงบการเงินภายใน 5 เดือน นับตั้งแต่วันปิดบัญชี ดังนั้นงบการเงินที่มีรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม จะต้องยื่นงบการเงินภายในเดือนพฤษภาคมของปีถัดไป

  • บริษัทจำกัดและบริษัทมหาชนจำกัด

สำหรับบริษัทจำกัด และบริษัทมหาชนจำกัด จะต้องจัดทำงบการเงินเพื่อให้ผู้สอบบัญชี รับอนุญาตตรวจสอบรับรองก่อน แล้วจึงนำเสนอเพื่ออนุมัติในที่ประชุมใหญ่ โดยจะต้องจัดให้มีการประชุมเพื่ออนุมัติงบการเงิน ภายใน 4 เดือน นับตั้งแต่วันปิดบัญชี และนำส่งสำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บอจ.5) ภายใน 14 วัน นับจากวันประชุมใหญ่สามัญประจำปี
หมายเหตุ: หากเป็นบริษัทที่เพิ่งทำการจดทะเบียนบริษัท จะต้องมีการปิดงบการเงินครั้งแรกภายใน 12 เดือน และต้องปิดงบการเงินต่อไปเรื่อยๆ ทุกปี ในเดือนเดิม ถ้าหากมีการนำส่งงบการเงินล่าช้า หรือตั้งใจที่จะไม่ส่งงบการเงิน จะมีความผิดตามกฎหมายกำหนด โดยมีโทษระหว่างปรับไปจนถึงจำคุก
 
ก่อนทำการปิดงบการเงิน แนะนำให้อ่านข้อมูล เพิ่มเติมที่นี่!!


อยาก ปิดงบการเงิน กับสำนักงานบัญชีที่มีความเชี่ยวชาญ เลือก นรินทร์ทอง

การปิดงบการเงิน เป็นเรื่องที่ต้องให้นักบัญชี หรือสำนักงานบัญชี ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการทำบัญชีโดยเฉพาะเป็นผู้จัดทำ เพราะเป็นงานที่ต้องใช้ประสบการณ์ และความรู้ในการทำบัญชี ดังนั้นสำหรับผู้ประกอบการท่านใด ที่ได้อ่านรายละเอียดเกี่ยวกับการปิดงบการเงินแล้ว อยากทำการปิด งบ การเงิน ของบริษัทตนเอง แต่ยังไม่มีนักบัญชีประจำบริษัท ขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโตและมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี

  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้

  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท

  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : ][email protected]
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339

11


การบริหารเงิน นับว่าเป็นหนึ่งปัญหาที่ผู้ประกอบการมักจะต้องเจอ เพราะการทำกิจการส่วนใหญ่ ผู้ประกอบการมักจะให้ความสำคัญเกี่ยวกับการตลาด จุดแข็ง-จุดอ่อนของผลิตภัณฑ์ และการให้บริการมากกว่า บทความนี้ นรินทร์ทอง จึงได้นำข้อมูลเกี่ยวกับ "งบการเงิน" มาให้ทุกท่านได้ทำความเข้าใจกันแบบละเอียด พร้อมแนะนำวิธีการจัดทำงบการเงินที่ดี ด้วย นักบัญชี ที่เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี

ถ้าคุณอยากรู้เรื่องงบการเงินมากขึ้นอ่านต่อที่นี่!

การทำ งบ การเงิน มี กี่ ประเภท



  • งบการเงินคืออะไร

1. กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน (Operating Activities)
2. กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน (Investing Activities)
3. กระแสเงินสดจากกิจกรรมการจัดหา (Financing Activities)

อ่านรายละเอียด งบการเงิน แต่ละประเภทเพิ่มเติมคลิกที่นี่

  • วัตถุประสงค์ของงบการเงิน


การจัดทำงบการเงินในธุรกิจ มีเป้าหมายเพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงาน และการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการ

  • ประโยชน์ของการทำ งบ การเงิน มี อะไร บ้าง


1. งบแสดงฐานะการเงิน - แสดงให้เห็นถึงภาพรวมของธุรกิจ ฐานะการเงิน สภาพคล่องของกิจการ ความสามารถในการชำระหนี้ และประสิทธิภาพในการบริหารสินทรัพย์ของกิจการ
2. งบกำไรขาดทุน - แสดงผลประกอบการ ความสามารถในการทำกำไร รวมทั้งโครงสร้างรายได้ และค่าใช้จ่ายของกิจการ
3. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น - แสดงให้เห็นถึงมูลค่าของกิจการ ในการประเมินมูลค่าหุ้นของกิจการ
4. งบกระแสเงินสด - ช่วยผู้ประกอบการในการวางแผนการใช้เงิน ทำให้ทราบถึงสภาพคล่องในการดำเนินงาน และใช้วางแผนการใช้จ่ายของกิจการ โดยไม่จำเป็นต้องจัดทำตามรูปแบบที่เป็นทางการ


อยากทราบข้อมูลการจัดทำ งบการเงิน เพิ่มเติมคลิกอ่านรายละเอียดได้ที่นี่


อยากจัดทำ งบการเงิน พร้อมที่ปรึกษาส่วนตัวด้านบัญชี นรินทร์ทอง พร้อมให้บริการ

หากผู้ประกอบการท่านใดที่กำลังมองหา บริษัทรับทำบัญชี จัดทำงบการเงิน ขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัดสำนักงาน รับทำบัญชี ทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโตและมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี

  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้

  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท

  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 


สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : ][email protected]
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339


12


ถ้าหากคุณกำลังวางแผนอยากเปิดบริษัท สิ่งสำคัญที่คุณจำเป็นต้องทำคือ "การจดทะเบียนบริษัท" ซึ่งในปัจจุบันมีการจดทะเบียนบริษัทรูปแบบออนไลน์ หรือ e-Registration เกิดขึ้น ทำให้มีความสะดวกอย่างมาก และถ้าหากคุณอยากรู้ว่า วิธี จดทะเบียน บริษัท ออนไลน์ มีขั้นตอนอย่างไร นรินทร์ทอง ได้รวบรวมข้อมูลเอาไว้ให้คุณแล้วในบทความนี้ !

อ่านรายละเอียดการ จดทะเบียนบริษัทออนไลน์ เพิ่มเติมคลิกที่นี่

ทำความเข้าใจภาพรวมของการจดบริษัท




สำหรับผู้ประกอบการท่านใดที่ทำธุรกิจประเภท SME มีเจ้าของกิจการ 2 คนขึ้นไป การจดทะเบียนบริษัทถือเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะช่วยทำให้ธุรกิจของคุณมีตัวตนอย่างเป็นทางการ แต่ถึงอย่างไรนั้นทางบริษัทก็ยังคงต้องจัดทำบัญชี งบการเงิน งบรายได้, เสียภาษี และประกันสังคมของพนักงาน ฯลฯ

ผู้ประกอบการที่ต้องการทำความเข้าใจ การจดทะเบียนบริษัท เพิ่มเติมคลิกที่นี่

วิธี จดทะเบียน บริษัท ออนไลน์ แต่ละขั้นตอน Step By Step


เอกสารที่ต้องเตรียม

  • สำเนาบัตรประชาชนของผู้ขอจดทะเบียน
  • สำเนาทะเบียนบ้านของผู้ขอจดทะเบียน
  • หนังสือรับรองการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (หากมี)
  • หนังสือบริคณห์สนธิ หรือ บอจ.2 (ข้อมูลที่ใช้ในการจดทะเบียน)
  • รายการจดทะเบียนจัดตั้ง หรือ บอจ.3 (ข้อมูลที่ใช้ในการจดทะเบียน)
  • สำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น หรือ บอจ.5 (ข้อมูลที่ใช้ในการจดทะเบียน)
  • หนังสือมอบอำนาจ (หากมีผู้รับมอบอำนาจ)



ขั้นตอนจดทะเบียนบริษัทออนไลน์



ขั้นตอนที่ 1

  • เข้าไปที่เว็บไซต์ DBD e-Registration - กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
  • เมื่อคลิกเข้าไปแล้วให้เลือก “ลงทะเบียนผู้ใช้งานระบบ” ในกรณีที่จดทะเบียนบริษัทด้วยตัวเอง ไม่มีผู้แทน ให้เลือก "ลงทะเบียนผู้ใช้งานทั่วไป" จากนั้นจะต้องกรอกข้อมูลเบื้องต้น และยืนยันตัวตนผ่านระบบ e-KYC
  • หลังจากที่ได้ User Name และ Password แล้ว ก็ทำการ Log-in เพื่อเข้าสู่ระบบและสร้างคำขอการจดทะเบียนจดทะเบียนนิติบุคคล

ขั้นตอนที่ 2

  • กรณีที่จดทะเบียนด้วยตนเอง ให้เลือกที่ “ผู้เริ่มก่อการ/กรรมการ/หุ้นส่วน/ผู้ชำระบัญชี”
  • จากนั้นเลือกรูปแบบนิติบุคคลในการทำธุรกิจ ซึ่งมีให้เลือกทั้งแบบ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน และบริษัทจำกัด
  • กรอกข้อมูลเกี่ยวกับการจดทะเบียนบริษัท และ Upload file ตราประทับ และแผนที่ตั้งสำนักงาน
  • ส่งคำขอเพื่อให้นายทะเบียนตรวจสอบ

ขั้นตอนที่ 3
  • ผู้ประกอบการจะได้รับ Email แจ้งกลับมา
  • จากนั้นให้ทำการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์


ขั้นตอนที่ 4

  • ยื่นคำขอจดทะเบียนบริษัท และชำระค่าธรรมเนียม

เพียงทำตามขั้นตอนเหล่านี้ การจดทะเบียนบริษัทออนไลน์ ผ่านระบบ DBD e-Registration ของคุณ ก็ถือว่าเป็นอันเสร็จสิ้น

ขั้นตอนที่ 5

  • ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนบริษัท (เอกสารฉบับนี้จะถูกจัดส่งมาทางไปรษณีย์)
  • หนังสือรับรองบริษัท สามารถดาวน์โหลดในรูปแบบ PDF file ได้จากระบบ โดยเลือกเมนู จดทะเบียนนิติบุคคล เลือก “พิมพ์ใบเสร็จรับเงิน/ดาวน์โหลดไฟล์หนังสือรับรอง”


อ่านขั้นตอน การจดทะเบียนบริษัทออนไลน์ แบบละเอียดคลิกที่นี่



วิธีจดทะเบียนบริษัทออนไลน์ สรุป

ถ้าธุรกิจของคุณเริ่มมีรายได้มากขึ้น ผู้ประกอบการควรศึกษาขั้นตอนการจดทะเบียนให้ดี และเตรียมเอกสารสำคัญที่ต้องใช้ยื่นให้พร้อม ดังนั้นสำหรับใครที่เป็นผู้ประกอบการมือใหม่ อย่าละเลยที่จะจ้างสำนักงานบัญชี ให้เป็นผู้ช่วยดูแลบัญชีและภาษีของบริษัท เพราะการมีนักบัญชีที่ดี ก็เหมือนมีคู่คิดที่คอยช่วยเหลือผู้ประกอบการในด้านการประกอบธุรกิจ ซึ่งถ้าหากคุณกำลังมองหาสำนักงานบัญชี ขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น


  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี

  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้

  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท

  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 


สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่…
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : ][email protected]
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339



Pages: [1]