ลงประกาศฟรี โปรโมทเว็บฟรี
Home
Help
Search
Login
Register
« previous
next »
Print
Pages: [
1
]
ผักบุ้ง
0 Replies
3423 Views
kaizas
8658
ผักบุ้ง
«
on:
February 18, 2024, 09:18:03 am »
ผักบุ้ง ผักบุ้ง ชื่อสามัญ
Swamp morning
glory, Thai wat
er convolvulus, Morning glory, Water sp
inach, Water morning glory, S
wamp cabbage ผักบุ้ง ชื่อวิทยาศาสตร์
Ipomoea aquatica Fors
sk. (ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ Ipomoea reptans
Poir.) จัดอยู่ในวงศ์ผักบุ้ง (CONVOLVULACEAE)
ผักบุ้งมีชื่อเรียกอื่นว่าผักท
อดยอด เป็นอาหารเพื่อสุ
ขภาพที่เรามักจะคุ้นเคยกันมาตลอดว่ามีส่วนช่วยในการบำรุงสาย
ตา แต่จริง ๆ แล้วผักชนิดนี้ยั
งมีประโยชน์มากกว่านั้น เพราะอุดมไปด้
วยวิตามินและแร่ธาตุที่สำคัญ
ๆ แต่ก่อนจะไปรู้ถึงประโยชน์มาดูกันก่อนว่าผักบุ้งที่นิยมนำมาใช้รับประทานนั้นมีส
ายพันธุ์อะไรบ้าง ซึ่งในประเทศ
ไทยจะแบ่งอ
อกเป็น 2 สายพันธุ์หลัก ๆ คือ
ผักบุ้งไทยและผักบุ้งจีน สำหรับผักบุ้งไทยเป็นผักบุ้งสายพันธุ์ธรรมชาติ
ที่ขึ้นเองตามแม่น้ำลำคลอง ซึ่งจะมียางมากก
ว่าผักบุ้งจีน ส่วนผักบุ้ง
จีนเป็นพันธุ์ที่นำเข้ามาจากต่า
งประเทศ (แต่ปลูกได้เองแล้วที่เมืองไทย) โดยส่วนมากที่นิยมปลูกขาย
ก็คือผักบุ้งจีน เพราะลำ
ต้นค่อนข้างขาว ใบเขี
ยวอ่อน ดอกขาว มียางน้อยกว่าผักบุ้งไ
ทย จึงได้รับความนิยมในการรับประทานมากกว่าผักบุ้
งไทยนั่นเอง ในผักบุ้ง 1
00 กรัมจะให้พลังงาน 22 กิโลแคลอรี ปร
ะกอบด้วยเส้นใย วิตามิน และแร่ธาตุอื่น ๆ
อีกด้วย เช่น วิตามินเอ วิตามินซี วิตามินบี
1 วิตามินบี 2 วิตามินบี 3 ธาตุแคลเซียม ธาตุฟอสฟอรัส
ธาตุเหล็ก
เป็นต้น ผักบุ้งไทยนั้นจะมีวิตามินซีสูงและสรรพคุณทา
งยามากกว่าผักบุ้งจีน แต่จะมีแคลเซียมและเ
บตาแคโรทีน (วิตามินเอที่ช่วยบำ
รุงสายตา) น้อยกว่าผักบุ้งจีน หากรั
บประทานสด ๆ ได้ จะทำให้คุณค่าของวิตามิน
และแร่ธาตุเหล่านี้ไม่เสียไปกับความร้อนอี
กด้วย ผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตต่ำนั้นควรหลี
กเลี่ยงการรับประทานผัก
บุ้ง เพราะผักบุ้งมีคุณสมบัติไปช่วยลดความดัน
โลหิต จะทำให้ค
วามดันยิ่งต่ำลงไปให
ญ่ อาจจะก่อให้เกิดอาการเป็นตะคริวไ
ด้ง่ายและบ่อยขึ้น ทำให้ร่างกายอ่อนแอ
ประโยชน์ของผักบุ้ง
นำมาใ
ช้ในการประกอบอาหารอย่างหลากหลาย ไม่ว่า
จะผัด แกง ดอง ได้หมด เช่น ผัดผักบุ้งไฟแดง
ส้มตำ แกงส้ม แกงเทโพ ยําผักบุ้งกรอบ
เป็นต้น
ผั
กบุ้งนำมาใช้เป็นอาหารสัต
ว์ได้เหมือนกัน เช่น
หมู เป็ด ไก่ ปลา
เป็นต้น (มีหลายค
นเข้าใจผิดว่ากระต่ายชอบกิ
นผักบุ้ง แต่ค
วามจริงแล้วไม่ใช่
เลย เพราะอาจจะทำให้ท้
องเสียได้ เพราะผักบุ้งมียาง ยกเว้น
กระต่ายโต
ถ้าจะให้กินไม่ควรให้บ่อยและให้ทีละนิด)
ผักบุ้ง
ประโยชน์ข้อสุดท้
ายนิยมนำมาแปร
รูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น
ผักบุ้งแคปซูล ผงผักบุ้ง
เป็นต้น
คุณค่าทางโภชนาการของผักบุ้งต่อ 100 กรัม
พลังงาน 19 กิโลแคลอรี คาร์โบไฮเดรต 3.14 กรัม เส้นใย 2.1
กรัม ไขมัน 0.2 กรัม โปรตีน 2.
6 กรัม วิ
ตามินเอ 315 ไมโครกรั
ม 39% วิตามินบี 1 0.03 มิลลิกรัม 3% วิตามินบี 2 0.1 มิลลิกรัม 8% วิตามินบี 3
0.9 มิลลิกรัม 6% วิตามินบี
5 0.141 มิลลิกรัม 3% วิตามินบี 6 0.096 มิลลิ
กรัม 7% วิตามินบี 9 57 ไมโค
รกรัม 14% วิตามินซี 55 มิลลิก
รัม 66% ธาตุแคลเซียม 77 มิลลิกรัม 8% ธาตุเหล็ก 1.
67 มิลลิกรัม 13% ธาตุแมกนีเซียม 71 มิลลิกรัม 20% ธ
าตุแมงกานีส 0.16 มิลลิกรัม 8% ธา
ตุฟอ
สฟอรัส 39 มิลลิกรัม 6%
ธาตุโพแทสเซียม 312 มิลลิกรัม 7% ธาตุโซเดียม 113 มิลลิกรัม
8% ธาตุสังกะสี 0.18 มิลลิกรัม 2
%
Tags :
arich88
Logged
Print
Pages: [
1
]
« previous
next »